꧁ผลกระทบของเทคโนโลยี꧂
ผลกระทบทางบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ
⌒♥ ✧*:・゚✧ 1) ด้านคุณภาพชีวิต ✧・゚:*✧ ♥⌒
🌷 ช่วยให้เกิดความรวดเร็วและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
🌷 ระบบโทรคมนาคมในการสื่อสารที่รวดเร็ว เช่น
▶ การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ติดต่อสื่อสารในขณะเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ
🌷 นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในด้านการแพทย์ เช่น
🌷 นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในด้านการแพทย์ เช่น
▶ เครื่องมือตรวจคลื่นหัวใจ
▶ เครื่องเอกซเรย์ภาคตัดขวางที่ตรวจดูอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างละเอียด
▶ เครื่องมือช่วยในการผ่าตัด
▶ การผลิตยา และ วัคซีนสมัยใหม่
⌒♥ ✧*:・゚✧ 2) ด้านสังคม ✧・゚:*✧ ♥⌒
🌷 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ คือ ใช้สารสนเทศในการตัดสินใจและการกระจายข้อมูลข่าวสารไปได้ทุกที่แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร
🌷 ทำให้เกิดชุมชนเสมือน ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีความสนใจเรื่องเดียวกัน สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรู้ซึ่งกันและกันได้ และความรู้เหล่านี้จะถูกบันทึกไว้ในระบบคอมพิวเตอร์และสามารถเรียกใช้ได้ตามต้องการ
⌒♥ ✧*:・゚✧ 3) ด้านการเรียนการสอน ✧・゚:*✧ ♥⌒
🌷 การสร้างโปรแกรมจำลองสถานการณ์ต่าง ๆ ทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาของบทเรียนได้อย่างชัดเจน
▶ การจำลองสภาวะสิ่งแวดล้อม
▶ การจำลองระบบมลภาวะ
▶ การจำลองการไหลของของเหลว
🌷 การนำเอาคอมพิวเตอร์มาจำลองให้ผู้เรียนได้อยู่ในสภาพที่เสมือนจริง
▶ จำลองการเดินเรือ
▶ จำลองการขับเครื่องบิน
▶ จำลองการขับรถยนต์
ซึ่งลดความผิดพลาดจากความเสียหายและความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายของผู้เรียนลงได้
🌷 ทำให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learning) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การเปลี่ยนแปลงของสังคม การเมือง เศรษฐกิจโลก รวมทั้งเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ทำให้มนุษย์ต้องขวนขวายพัฒนาตนเอง และปรับตนเองให้ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
🌼เกิดโรคที่มาจากการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน เช่น
▶ อาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อบริเวณข้อมือเนื่องจากจับเมาส์ หรือใช้แป้นพิมพ์เป็นเวลานาน
▶ อาการปวดคอ ไหล่ และหลัง
▶ การเกิดปัญหาด้านสายตาเนื่องจากเพ่งมองที่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานติดต่อกัน เป็นต้น
🌼 โรคทนรอไม่ได้ (Hurry Sickness) เกิดกับผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต ทำให้เป็นคนขี้เบื่อ หงุดหงิดง่าย ใจร้อน เครียดง่าย ความอดทนลดลง ทนรอเครื่องดาวน์โหลดนาน ๆ ไม่ได้ จะกระวนกระวาย ซึ่งจะเป็นพฤติกรรมติดตัวไปใช้ในการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันด้วย หากมีอาการมาก ๆ อาจจะเข้าข่ายโรคประสาทได้
🌼 เกิดความเครียดจากการเลือกใช้ข้อมูลและสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย
🌼 โรคทนรอไม่ได้ (Hurry Sickness) เกิดกับผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต ทำให้เป็นคนขี้เบื่อ หงุดหงิดง่าย ใจร้อน เครียดง่าย ความอดทนลดลง ทนรอเครื่องดาวน์โหลดนาน ๆ ไม่ได้ จะกระวนกระวาย ซึ่งจะเป็นพฤติกรรมติดตัวไปใช้ในการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันด้วย หากมีอาการมาก ๆ อาจจะเข้าข่ายโรคประสาทได้
🌼 เกิดความเครียดจากการเลือกใช้ข้อมูลและสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย
ท่านั่งที่ไม่ถูกต้องในการนั่งทำงานคอมพิวเตอร์ |
⌒♥ ✧*:・゚✧ 2) ด้านสังคม ✧・゚:*✧ ♥⌒
🌼 ขาดทักษะทางสังคม เนื่องจากอินเทอร์เน็ตทำให้เกิดการสื่อสารโดยไม่ต้องพบเจอกัน ปัจจุบันคนในสังคมนิยมใช้ social network มากขึ้น ได้แก่
▶ Facebook
▶ Instagram
▶ Twitter
▶ Line
ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่าบุคคลในสังคมน้อยลง
🌼 ขาดทักษะทางสังคมต่าง ๆ ที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างกัน เช่น
▶ การพูด การฟัง การทำงานร่วมกัน
▶ ความสามารถในการเข้าใจถึงสถานการณ์ที่หลากหลาย กฎกติกาต่าง ๆ ในสังคม
▶ การคิดคำนึงถึงคนรอบข้างอย่างเข้าอกเข้าใจ
จะทำให้คนขาดการทำความเข้าใจผู้อื่น จนกระทั่งอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งกันในสังคมขึ้นได้
🌼 การเกิดอาชญากรรมคอมพิวเตอร์มากขึ้นและรุนแรงขึ้น ผู้ไม่หวังดีอาจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ผิด เช่น
▶ การขโมยข้อมูลของบริษัทและนำไปเปิดเผยกับบริษัทคู่แข่ง
▶ การเจาะระบบของธนาคารและเปลี่ยนแปลงข้อมูลเงินในบัญชีธนาคารให้สูงขึ้น
▶ การล่อลวงผู้ที่เล่นอินเทอร์เน็ตและก่อคดีล่วงละเมิดทางเพศ
▶ การเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในแง่มุมต่าง ๆ ทั้งภาพลามกอนาจาร
▶ การพนันออนไลน์ การจำหน่ายของผิดกฎหมาย
▶ เผยแพร่ข้อมูลที่มีเนื้อหาแอบแฝงแนวคิด ก้าวร้าว รุนแรง
▶ การส่งไวรัสเข้าไปทำลายข้อมูลของผู้อื่น เป็นต้น
⌒♥ ✧*:・゚✧ 3) ด้านการเรียนการสอน ✧・゚:*✧ ♥⌒
⌒♥ ✧*:・゚✧ 3) ด้านการเรียนการสอน ✧・゚:*✧ ♥⌒
🌼 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอนทั้งหมด และปล่อยให้ผู้เรียนศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนที่มีประสบการณ์น้อยอาจตีความได้ไม่ถูกต้อง ดังนั้น ผู้สอนจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน รวมทั้งให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน
แหล่งที่มา : >> Click here! <<
แหล่งที่มา : >> Click here! <<
·٠•●♥ ♥●•٠··٠•●♥ ♥●•٠··٠•●♥ ♥●•٠··٠•●♥ ♥●•٠··٠•●♥ ♥●•٠··٠•●♥ ♥●•٠·
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น